นักเรียนจะได้เรียนเรื่อง การแยกตัวประกอบ
- Teacher: ครูมหัสฤดี นานทนานนท์
ศึกษาความรู้เกี่ยวกับเรื่องอัตราส่วน สัดส่วน ร้อยละ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน สัดส่วน ร้อยละ การเปรียบเทียบหน่วยความยาว พื้นที่ การคาดคะเนเวลา ระยะทาง พื้นที่ ปริมาตร น้ำหนัก การแก้ปัญหาและการนำไปใช้ ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม การแปลงทางเรขาคณิต การสร้างรูปเรขาคณิตที่เกิดจากการเลื่อนขนาน การสะท้อน และการหมุนบนระนาบในระบบพิกัดฉาก การอ่านและการนำเสนอข้อมูลโดยใช้แผนภูมิ
- Teacher: ครูมลฤดี บัวแสน
“ศาสตร์” คือ เหตุผล ตรรกะ องค์ความรู้ ตัวความรู้ในแต่ละศาสตร์
“ศิลป์” คือ กระบวนการ วิธีการ ความเป็นมืออาชีพในการทำให้ชีวิต การศึกษาศาสตร์ต่างๆ และการเรียนการสอนบรรลุเป้าหมายอย่างดียิ่ง “ศิลปะ” จึงอยู่ในการดำรงชีวิต อาชีพ มนุษยสัมพันธ์ การปรุงอาหาร การพูดฯลฯ ศิลปะในการสอน “ศาสตร์” และ “ศิลป์” จึงมีน้ำหนักพอๆกันในชีวิตการเป็นครูอาจารย์ การมีความลุ่มลึกเพียงด้านเดียวย่อมอ่อนแอสำหรับอาชีพครู อาจารย์ อาชีพที่ต้องถ่ายทอดและกระตุ้นความรู้ความสามารถของผู้เรียน นักเรียน นิสิต
- Teacher: ครูปณัฐพงศ์ ใจการ
นักเรียนเคยรูจักรูปเรขาคณิตสามมิติซึ่งไดแก ทรงส
ี่
เหลยมม
ี่ ุมฉาก ปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด
กรวยและทรงกลมมาบางแลว ในบทนี้
จะกลาวถึงลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติเหลาน
ั้นโดยละเอียด
อีกครั้ง สาระที่นักเรียนจะไดเรียนรูเพ
ิ่
มเติม คือ การหาปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติที่กลาวถึงขางตน
และการหาพ
ื้
นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก สําหรับพ
ื้
นที่ผิวของพระม ี ิด กรวย และทรงกลม จะเปน
เน
ื้อหาในหนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพ
ิ่
มเติม คณิตศาสตร เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
เน
ื้
อหาสาระของบทนี้สวนใหญเสนอไวในรูปของกิจกรรม เพราะตองการให นักเรียนศึกษาและ
สํารวจลักษณะตาง ๆ ของรูปเรขาคณิตสามมิติ ทั้งยังมีกิจกรรมเกี่ยวกับการหาปริมาตรของรูปเรขาคณิต
สามมิติบางรูป เพ
ื่อใหนักเรยนเห ี ็นความสมพั ันธและท
ี่
มาของสูตรการหาปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติ
และสูตรการหาพ
ื้
นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก โจทยแบบฝกห ดบางข ั อในแตละช ุดไดเช
ื่อมโยงความรู
เก
ี่
ยวกับพนท
ื้ ี่ผิวและปริมาตรกับขอมูลจริงในสิ่งแวดลอม จึงอาจมีตัวเลขที่ทําใหการคํานวณยุงยาก ครูอาจ
ใหนักเรียนใชเคร
ื่
องคิดเลขชวยในการคํานวณไดตามความเหมาะสม ในการวัดและประเมินผลหากครูนํา
ขอมูลจริงในสิ่
งแวดลอมหรือทองถ
ิ่
นมาสรางโจทย ก็ควรระมัดระวังโดยปรับตัวเลขใหงายตอการคํานวณ
และเหมาะสมกับเวลา
- Teacher: ครูวิโรจน์ ทาวัน