ศึกษา วิเคราะห์ การรับรู้ข้อมูลข่าวสารของประชาชน ประเมินวิกฤตในระดับกระแสโลกและ
การซาบซึ้งถึงผลกระทบนี้ต่อประชาชนตามหลักสิทธิมนุษยชน
       โดยใช้วิธีการเสาะแสวงหาความรู้ ทักษะกระบวนการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ กระบวนการ
สืบค้น กระบวนการกลุ่ม กระบวนการทางสังคม และกระบวนการประเมินผลกระทบ
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ วิเคราะห์ เจตคติ อภิปรายค่านิยมและการตระหนักรับรู้
สถานการณ์จากข้อมูลข่าวสาร มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์
สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ ให้
เกิดความสันติสุขในสังคมอย่างมีดุลยภาพ
           
ผลการเรียนรู้
1. มีความรู้ความเข้าใจได้ว่ามนุษย์ล้วนมีค่านิยม เจตคติและการรับรู้ที่แตกต่างกัน
2. เข้าใจความสำคัญและคุณค่าของสิทธิมนุษยชน ได้พัฒนาทัศนะที่หลากหลายมุมมอง
(Multiple Perspective) และเล็งเห็นวิธีใหม่ ๆ ในการพิจารณาเหตุการณ์ เรื่องราวประเด็น
ปัญหา และความคิดเห็น ต่าง ๆ
3. เรียนรู้การตั้งคำถาม และการทักท้วงท้าทายข้อสันนิษฐาน และข้อมูลที่ได้จากการรับรู้ต่าง ๆ
เข้าใจถึงอำนาจของสื่อที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้
4. มีความเข้าใจได้ว่าค่านิยมที่คนยึดถือเป็นตัวกำหนดการกระทำ
5. สามารถใช้ประเด็นเรื่องราวเหตุการณ์ และปัญหาที่แตกต่างกันเพื่อศึกษา สำรวจค่านิยมและ
การรับรู้ของเด็กและเยาวชน รวมทั้งคนกลุ่มอื่น ๆ
รวมผลการเรียนรู้ 5 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายและโครงสร้างรายวิชาการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น-ว21293.pdfคำอธิบายและโครงสร้างรายวิชาการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น-ว21293.pdf

ศึกษา วิเคราะห์ ฝึกปฏิบัติ สร้างความคิดรวบยอด นำภูมิปัญญาท้องถิ่น สภาพปัญหาชีวิต สภาพแวดล้อมเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ เพื่อให้มีความเข้าใจ ตระหนักและเห็นคุณค่าในเรื่องต่อไปนี้ 

             พระพุทธ เกี่ยวกับ     ความสำคัญของพระพุทธศาสนากับการเมือง    

             พระธรรม เกี่ยวกับ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เรื่อง   อริยสัจ 4  สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) กรรมนิยาม มิจฉาวณิชชา 5 มรรค(ธรรมที่ควรเจริญ)ปาปณิกธรรม 3 ทิฏฐธัมมิกัตถสังวัตตนิกธรรม 4 โภคอาทิยิอริยวัฑฒิ 5

มงคล 38 ถูกโลกธรรมจิตไม่หวั่นไหว จิตไม่เศร้าโศก จิตไม่มัวหมอง จิตเกษม  พุทธศาสนสุภาษิต 

สนฺตุฏฐี ปรมํ ธนํ : ความสันโดษเป็นทรัพย์อย่างยิ่ง  อิณาทานํ ทุกฺขํ โลเก : การเป็นหนี้เป็นทุกข์ในโลก 

พระสงฆ์ เกี่ยวกับ ประวัติพุทธพุทธสาวก พุทธสาวิกา เรื่อง  พุทธสาวก พุทธสาวิกา พระธัมมทินนาเถรี 

จิตตคหบดี ศาสนิกชนตัวอย่าง   พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)  ดร. เอ็มเบดการ์  และปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว  การปฏิบัติตนที่เหมาะสมในฐานะผู้ปกครองและผู้อยู่ในปกครองตามหลักทิศเบื้องล่างในทิศ 6 การปฏิสันถารตามหลักปฏิสันถาร 2 ความหมาย ความสำคัญ คติธรรมในพิธีกรรม บทสวดมนต์ของนักเรียน งานพิธี คุณค่าและประโยชน์  พิธีบรรพชาอุปสมบท คุณสมบัติของผู้ขอบรรพชาอุปสมบท บุญพิธี ทานพิธี กุศลพิธี คุณค่าและประโยชน์ ของศาสนพิธี

โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางสังคม กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา

              เพื่อให้เกิดศรัทธาอย่างยิ่งต่อพระรัตนตรัย และรักการเรียนรู้พระพุทธศาสนา ประพฤติปฏิบัติตนเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรมในการอยู่ร่วมกันในสังคม และสามารถนำหลักธรรมไปใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ การทำงานอย่างมีคุณค่าต่อชีวิตตนเองและสังคมโดยส่วนรวม


                ศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมายในเรื่อง ความหมาย ที่มา และประเภทของกฎหมาย
               ศึกษาหลักกฎหมายแพ่ง กฎหมายอาญา กฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา กฎหมายสิทธิมนุษยชน และกฎหมายรัฐธรรมนูญ
               วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของกฎหมายกับกระบวนการยุติธรรม ปัญหาการบังคับใช้กฎหมาย และแนวทางแก้ไข
               โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการคิดสังเคราะห์ กระบวนการคิดสร้างสรรค์ และกระบวนการสร้างความ 
                 ตระหนัก
               เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจกฎหมายหลักที่ใช้ปกครองประเทศ เห็นความจำเป็นที่จะต้องรู้กฎหมาย และสามามรถปฏิบัติตนให้ถูกต้องตามกฎหมาย


             ศึกษา วิเคราะห์ ฝึกปฏิบัติ สร้างความคิดรวบยอด นำภูมิปัญญาท้องถิ่น สภาพปัญหาชีวิต สภาพแวดล้อมเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ เพื่อให้มีความเข้าใจ ตระหนักและเห็นคุณค่าในเรื่องต่อไปนี้ 

             พระพุทธ เกี่ยวกับ     ความสำคัญของพระพุทธศาสนากับการเมือง  ชาดก มโหสถชาดก

             พระธรรม เกี่ยวกับ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เรื่อง   อริยสัจ 4  สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) กรรมนิยาม มิจฉาวณิชชา 5 มรรค(ธรรมที่ควรเจริญ)ปาปณิกธรรม 3 ทิฏฐธัมมิกัตถสังวัตตนิกธรรม 4 โภคอาทิยิอริยวัฑฒิ 5

มงคล 38 ถูกโลกธรรมจิตไม่หวั่นไหว จิตไม่เศร้าโศก จิตไม่มัวหมอง จิตเกษม  พุทธศาสนสุภาษิต 

สนฺตุฏฐี ปรมํ ธนํ : ความสันโดษเป็นทรัพย์อย่างยิ่ง  อิณาทานํ ทุกฺขํ โลเก : การเป็นหนี้เป็นทุกข์ในโลก 

พระสงฆ์ เกี่ยวกับ ประวัติพุทธพุทธสาวก พุทธสาวิกา เรื่อง  พุทธสาวก พุทธสาวิกา พระธัมมทินนาเถรี 

จิตตคหบดี ศาสนิกชนตัวอย่าง พระธรรมโกษาจารย์ (พุทธทาสภิกขุ)  พระธรรมโกศาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)

 ดร. เอ็มเบดการ์  และปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว  การปฏิบัติตนที่เหมาะสมในฐานะผู้ปกครองและผู้อยู่ในปกครองตามหลักทิศเบื้องล่างในทิศ 6 การปฏิสันถารตามหลักปฏิสันถาร 2 ความหมาย ความสำคัญ คติธรรมในพิธีกรรม บทสวดมนต์ของนักเรียน งานพิธี คุณค่าและประโยชน์  พิธีบรรพชาอุปสมบท คุณสมบัติของผู้ขอบรรพชาอุปสมบท บุญพิธี ทานพิธี กุศลพิธี คุณค่าและประโยชน์ ของศาสนพิธี

โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางสังคม กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา

              เพื่อให้เกิดศรัทธาอย่างยิ่งต่อพระรัตนตรัย และรักการเรียนรู้พระพุทธศาสนา ประพฤติปฏิบัติตนเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรมในการอยู่ร่วมกันในสังคม และสามารถนำหลักธรรมไปใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ การทำงานอย่างมีคุณค่าต่อชีวิตตนเองและสังคมโดยส่วนรวม


                ศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมายในเรื่อง ความหมาย ที่มา และประเภทของกฎหมาย
               ศึกษาหลักกฎหมายแพ่ง กฎหมายอาญา กฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา กฎหมายสิทธิมนุษยชน และกฎหมายรัฐธรรมนูญ
               วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของกฎหมายกับกระบวนการยุติธรรม ปัญหาการบังคับใช้กฎหมาย และแนวทางแก้ไข
               โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการคิดสังเคราะห์ กระบวนการคิดสร้างสรรค์ และกระบวนการสร้างความ 
                 ตระหนัก
               เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจกฎหมายหลักที่ใช้ปกครองประเทศ เห็นความจำเป็นที่จะต้องรู้กฎหมาย และสามามรถปฏิบัติตนให้ถูกต้องตามกฎหมาย